วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

งานที่ต้องส่งก่อนปีใหม่

งานส่งก่อนปีใหม่
ทำการ์ดอวยพร คริสต์มาส และปีใหม่ ส่ง mail ถึง ruchira02@hotmail.com ที่ประกอบด้วย รูปภาพ คำอวยพร ภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย ชื่อ ผู้ส่ง ชั้น เลขที่ ฟังเพลง และเนื้อเพลง http://www.youtube.com/watch?v=IZQhS3x6 CHANSON : MON BEAU SAPIN http://www.youtube.com/watch?v=vi4aQ4Esay0 CHANSON : VIVE LE VENT คําอวยพรวันปีใหม่ภาษาฝรั่งเศส ที่มา http://rungsky.multiply.com และ http://www.bonjourajarnton.com เทศกาล และโอกาสต่างๆ ( Les fêtes ) - สวัสดีปีใหม่ = Bonne Année ( บอนนานเน่ ) - สุขสันต์วันคริสต์มาส = Joyeux Noël ( ชัวเยอ โนแอล ) Du fond du Coeur, je présente à chacun d’entre vous mes meilleurs voeux pour cette nouvelle année. จากก้นบึ้งหัวใจ ขอให้คุณทุกคนมีความสุขในวันปีใหม่นี้ Que cette nouvelle année vous apporte la réussite dans tout ce que vous entreprenez ขอให้ปีใหม่นี้ นำมาซึ่งความสำเร็จในทุก ๆ สิ่งที่คุณทำ Que le bonheur soit au rendez-vous dans vos cœurs et dans ceux de vos proches ขอให้คุณและคนใกล้ชิดมีแต่ความสุขในหัวใจตลอดปีใหม่นี้ Tous mes Voeux de Bonheur, du plus profond de mon coeur, pour cette nouvelle année, sois heureuse et en bonne santé. (กลอน) ขอให้คุณมีสุข จากก้นบึ้งหัวใจ เนื่องในวันปีใหม่ ขอให้สดใสและสุขภาพดี A l’occasion de cette nouvelle année, je te souhaite tous mes vœux de bonheur et surtout de santé, à toi et à tous les êtres qui te sont chers. เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ ฉันขอให้เธอประสบแต่ความสุข มีสุขภาพดี ทั้งตัวเธอและคนที่เธอรัก Une carte de voeux ordinaire, afin de te souhaiter un bonheur extraordinaire pour cette nouvelle année. การ์ดอวยพรธรรมดา ๆ ส่งให้เธอ เพื่อขอให้เธอพบแต่ความสุขอันยิ่งใหญ่ในวันปีใหม่นี้ Avec cette carte de voeux, et pour cette nouvelle année, je te souhaite d'oser. Oser réaliser tes rêves. Oser concrétiser tes projets. Oser profiter de ton bonheur. Oser apprécier l'amour qu'on te donne. Oser avoir tout le succès que tu mérites. การ์ดอวยพรปีใหม่นี้ส่งให้เธอ ฉันขอให้เธอกล้า กล้าที่สร้างฝันให้เป็นจริง กล้าที่จะทำสิ่งที่เธอปรารถนาให้เป็นรูปร่าง กล้าที่จะตักตวงความสุข กล้าที่จะรับรักที่คนอื่นให้ กล้าที่ประสบความสำเร็จในสิ่งที่เธอควรได้ Par cette carte de voeux, je te souhaite que les 365 prochains jours soient pleins de bonheur, et que les 365 prochaines nuits soient pleines de beaux rêves. ฉันของส่งการ์ดอวยพรนี้ให้เธอเพื่อขอให้ 365 วันข้างหน้า เต็มเปี่ยมไปด้วยความสุขและ 365 คีนในอนาคตเต็มเปี่ยมไปด้วยฝันดี Une nouvelle année, mais toujours le même amour pour toi. Une nouvelle année, mais toujours cette grande passion pour toi. Une nouvelle année, mais toujours ce désir d'un avenir avec toi. Une nouvelle année, et une carte de voeux pour te dire tout ça... ปีใหม่ แต่ฉันยังรักเธอเหมือนเดิม ปีใหม่ แต่ฉันยังคลั่งไคล้เธอเหมือนเดิม ปีใหม่ แต่ฉันยังปรารถนาที่จะใช้อนาคตกับเธอเหมือนเดิม ปีใหม่ กับการ์ดอวยพรเพื่อบอกความในใจทั้งหมดนี้ กับเธอ J'utiliserai donc cette carte de voeux pour simplement te souhaiter un bonheur infini pour cette nouvelle année qui commence. ฉันส่งการ์ดอวยพรนี้ให้เธอเพื่อขอให้เธอมีความสุขอย่างไม่สิ้นสุดตลอดปีใหม่ที่กำลังเริ่มต้น Pour cette nouvelle année je t'envoie cette très très très très très jolie carte de voeux, pour te souhaiter une merveilleuse, une phénoménale, une magnifique nouvelle année. ปีใหม่นี้ ฉันส่งการ์ดน่ารัก ๆๆๆๆๆๆๆ นี้ให้เธอ เพื่ออวยพรให้เธอมีปีใหม่ที่แสนสุขสันต์ สุดยอด สุดเลิศ Cette carte de voeux pour te souhaiter le plus simplement mais aussi le plus sincèrement une très bonne année. J'espère que cette nouvelle année sera l'année de l'aboutissement de tes projets. การ์ดใบนี้มีพร้อมกับความจริงใจที่จะอวยพรให้เธอสุขสันต์วันปีใหม่ หวังว่าปีใหม่นี้จะเป็นปีที่เธอประความสำเร็จในสิ่งที่เธอตั้งใจ Bonne année, bonne santé, et tout ce qui va avec ! สุขสันต์วันปีใหม่ สุขภาพแข็งแรง และประสบแต่ความสุขตลอดไป Une nouvelle année c'est de nouvelles aventures, de nouveaux espoirs, de nouvelles rencontres, de nouveaux centres d'intérêt, et pour certains une nouvelle vie. Bonne année, et surtout profitez bien. ปีใหม่ การผจญภัยใหม่ ๆ ความหวังใหม่ ๆ พบเจอคนใหม่ ๆ เรื่องราวน่าสนใจใหม่ ๆ และชีวิตใหม่สำหรับใครบางคน สุขสันต์วันปีใหม่ และจงใช้ให้คุ้มค่า Avec cette carte de voeux, Je nous souhaite, Une année ensoleillée Une année amoureuse Une année riche en projets Une année où le rire sera roi Et où nous prendrons le temps... de nous aimer. ด้วยการ์ดปีใหม่นี้ ขออวยพรให้ ปีใหม่นั้นสดใจ เต็มเปี่ยมด้วยความรัก การงานรุ่งเรือง ร่ำรวยด้วยเสียงหัวเราะ และเป็นปีที่เรามีเวลามอบความรักให้กันและกัน A l'aube de cette nouvelle année, par cette carte de voeux, nous vous adressons nos voeux de paix, de joie, et d'espérance. ปีหน้าฟ้าใหม่ใกล้มาถึงแล้ว เราขออวยพรให้คุณประสบแต่ความสุขสำราญและเต็มเปี่ยมไปด้วยความหวัง

วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

วันพ่อแห่งชาติ

Histoire et traditions internationales Thaïlande En Thaïlande, on célèbre la Fête des Pères à l'anniversaire du roi. Actuellement, le roi titulaire est Bhumibol Adulyadej (Rama IXe), qui est né le 5 décembre. Les Thaïlandais célèbrent la Fête en donnant au père ou grand-père une fleur Canna (Dok put ta ruk sa), considérée comme fleur masculine. On porte des vêtements jaunes pour rendre hommage au roi, parce que le jaune est la couleur du jour pour le lundi, le jour de la semaine où le roi Bhumibol Adulyadej est né. วันพ่อ เป็นวันสำคัญ ในการฉลองความเป็นพ่อและบุคคลที่นับถือในการเป็นพ่อ วันพ่อแห่งชาตินั้นทั่วโลกจะมีการจัดแตกต่างกันไป โดยในประเทศไทยจัดตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี โดยในกว่า 50 ประเทศจะจัดวันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน จอห์น บี. ดอดด์ ชาวอเมริกันเป็นผู้ริเริ่มแนวคิดของวันพ่อแห่งชาติ โดยเริ่มต้นที่เมืองแฟร์มอนต์ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ในโบสถ์แห่งหนึ่งในแฟร์มอนต์ [1] วันพ่อแห่งชาติในแต่ละประเทศ[แก้] • 19 มีนาคม - สเปน โปรตุเกส อิตาลี • 8 พฤษภาคม - เกาหลีใต้ • 5 มิถุนายน - เดนมาร์ก • วันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน - ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา ไอร์แลนด์ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร • 23 มิถุนายน - โปแลนด์ • อาทิตย์ที่สองของเดือนสิงหาคม - บราซิล • อาทิตย์แรกของเดือนกันยายน - ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ • อาทิตย์ที่สองของเดือนพฤศจิกายน - ฟินแลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน • 5 ธันวาคม - ไทย ประวัติและความเป็นมา ขนบธรรมเนียมการปฏิบัติในแต่ละชาติ Histoire et traditions internationales Allemagne En Allemagne, on célèbre la Fête des pères (Vatertag) d'une façon assez différente6,7. On la célèbre toujours à l'Ascension (le jeudi 40 jours après Pâques), qui est un jour férié. Dans certaines régions, on l'appelle Männertag (le jour des hommes), ou Herrentag (le jour des messieurs). Argentine En Argentine, la Fête des Pères se tient le troisième dimanche de juin ; il y a eu des tentatives pour déplacer la date au 24 août, pour commémorer le jour où le «père de la nation», José de San Martín, était devenu père8. Australie En Australie, on célèbre la Fête des Pères le premier dimanche de septembre ; il n'y a pas de jour férié. Canada Au Canada, on célèbre la Fête des Pères le troisième dimanche de juin; il n'y a pas de jour férié 9. Costa Rica Au Costa Rica, le Parti de l’Unité Sociale Chrétienne a présenté un projet de loi pour déplacer la fête du troisième dimanche de juin au 19 mars, jour de la Saint Joseph10. C'était pour rendre hommage au saint dont la capitale (San José) tire son nom. Cependant, la date officielle de la fête des pères reste le troisième dimanche de juin. Danemark Au Danemark, on célèbre la Fête des Pères le 5 juin11. La date coïncide avec la fête annuelle de la Constitution qui est un jour férié. États-Unis Aux États-Unis, on célèbre la Fête des Pères le troisième dimanche de juin. La première célébration a eu lieu à Spokane, Washington le 19 juin 191012. La fondatrice de la fête est Sonora Smart Dodd, née à Creston dans l'État de Washington. France En France, c'est le fabricant de briquets Flaminaire qui eut l'idée, le premier, de créer une fête des pères, en permettant d'offrir un briquet à son papa13 pour cette occasion. La fête fut par la suite fixée par un décret de 1952 au troisième dimanche de juin ; ceci pour faire écho à la fête des Mères, officialisée en France en 1928 puis instaurée dans le calendrier sous Vichy en 194114. Japon Au Japon, la Fête des Pères a lieu le troisième dimanche de juin ; ce n'est pas un jour férié. Nouvelle-Zélande En Nouvelle-Zélande, on célèbre la Fête des Pères le premier dimanche de septembre ; il n'y a pas de jour férié. Philippines Aux Philippines, la Fête des Pères n'est pas un jour férié, mais beaucoup de gens la fêtent le troisième dimanche de juin. La plupart des Philippins nés pendant les années 1960 et les années 1970 n'ont pas célébré la Fête des Pères ; c'est un phénomène plus récent, sous l'influence des États-Unis. Roumanie Depuis 2010, en Roumanie, la Fête des Pères a lieu le deuxième dimanche de mai ; la fête est reconnue officiellement par l'État15. Royaume-Uni Au Royaume-Uni, on célèbre la Fête des Pères le troisième dimanche de juin16. Seychelles Aux Seychelles, on célèbre la Fête des Pères le 16 juin ; ce n'est pas un jour férié. Singapour À Singapour, on célèbre la Fête des Pères le troisième dimanche de juin ; ce n'est pas un jour férié. Taïwan À Taïwan, la Fête des Pères n'est pas un jour férié, mais beaucoup de gens la célèbrent le 8 août, le huitième jour du huitième mois. En Mandarin, la prononciation du numéro 8 est bā. Cette prononciation ressemble à celle du caractère « 爸 » « bà », qui veut dire « Papa » ou « père ». Donc, les Taïwanais sont habitués à appeler le 8 août par son sobriquet, le « Jour de Bābā » (爸爸節). Tradition de l'Église catholique romaine C'est une tradition de l'Église catholique romaine de fêter les pères le 19 mars, la Fête de Saint Joseph17. Il est aussi fréquent chez les catholiques d'honorer leur « père spirituel », le prêtre de leur paroisse, à la Fête des Pères18. Tradition Hindoue Dans les pays hindous, on célèbre la Fête des pères le jour de la nouvelle lune (Amavasya), vers la fin août ou le début septembre. C'est fréquent dans les pays avec une majorité hindoue, comme l'Inde ou le Népal.

วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2556

Les Fêtes des français

เทศกาล งานฉลอง Les Fêtes des français
Jour de l’an 1 มกราคม วันนักขัตฤกษ์ ตรงกับวันแรก ของปีตามตารางปฎิทินสากล ในประเทศฝรั่งเศส วันขึ้นปีใหม่ 10 มกราคมนี้เริ่มกำหนดใช้ในปี ค.ศ. 1564 และ วันที่ 31 ธันวาคมถือว่าเป็นการฉลองคืนส่งท้าย ปีเก่าเพื่อต้อนรับขึ้นวันปีใหม่ด้วย ในวันขึ้นปีใหม่นี้ ถือเป็นโอกาสที่จะให้ของขวัญ (เงิน) กับเด็ก ๆ Epiphanie เทศกาลของชาวคริสเตียน ในโบสถ์ละติน เป็นการฉลองการมาเยี่ยม พระเยซูของ Rois mages โดยธรรมเนียม มีการทานขนมหวาน เค้ก (รูปทรงมงกุฎในทางตอนใต้) หรือ กาแลตดูครัว (ทางเหนือของฝรั่งเศส) จัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของเดือนมกราคม Chandeleur 2 กุมภาพันธ์ วันทางศาสนาของชาวคริสเตียน แรกเริ่มมาจาก เทศกาลแสงไฟ ในปี ค.ศ. 472 เทศกาลนี้ได้กลายเป็นการเฉลิมฉลองการเป็นตัวแทนของ พระเยซูภายในโบสถ์ตามธรรมเนียมมีการทำขนมเครป แล้วโยนขึ้นกลับด้านโดยกำเงินไว้ในมือ อีกข้างเพื่อถือเป็นการนำโชคดีมาสู่ตัวผู้โยน Mardi-gras เทศกาลของชาวคาทอลิก เมื่อวันสิ้นสุด 7 วันหลังเทศกาลงานรื่นเริง (ซึ่งผ่านมื้ออาหารกันมาตลอดสัปดาห์) วันนี้กำหนดขึ้น 47 วันก่อนเทศกาลอีสเตอร์ และเป็นการ เริ่มต้นของกาเรม (เทศกาลถือศีลอด) สัญลักษณ์ของเทศกาลนี้คืองานกานาวาล (ซึ่งมีความหมายถึงการเอาเนิ้อออก หรือการเริ่มต้นการถือศีล) ตามธรรมเนียมต้องการให้ชาวบ้านแต่งตัวหลากหลายในวันนั้น (ในทุกวันนี้กลายเป็นเด็ก ๆ ) ในบางหมู่บ้านมีการเผาตุ๊กตากานาวาลในวันงานด้วย Mercredi des Cendres เทศกาลของชาวคาทอลิก เป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นเทศกาลถือศีลอด เป็นสัญลักษณ์ให้เตือนถึงการตาย อาทิตย์แรกของเทศกาลศีลอด (1er dimanche de Carême) ไม่มีกิจกรรมใด ๆ พิเศษ พฤหัสบดีกลางเทศกาลศีลอด (Jeudi de la Mi-cerême) เป็นสัญลักษณ์ครึ่งนึงของช่วง เทศกาลถือศีลอดที่มี 40 วัน(โดยไม่นับวันอาทิตย์) ตรงกับวันพฤหัสบดีของอาทิตย์ที่ 3 ของตลอดระยะเวลาเทศกาลถือศีล เป็นการพักของช่วงการถือศีล ในปัจจุบันนี้ไม่ค่อยฉลองกันนัก Dimanche des Rameaux รำลึกการเดินทางถึงนครเยรูซาเลมของพระเยซู และความรักของ พระเยซุคริสต์และการเสียชีวิตบนไม้กางเขน วันอาทิตย์อีสเตอร์ (Dimanche de Pâques) 3 วันหลังจากวันสิ้นชีพของพระเยซุ พระเยซูได้ ฟิ้นคืนชีพ เทศกาลอีสเตอร์เป็นวันสำคัญที่สุดของปฎิทินชาวคริสต์ เป็นสัญลักษณ์ของวันสิ้นสุด ของเทศกาลถือศีลอด วันอีสเตอร์สอดคล้องกับวันอาทิตย์แรกต่อจากวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูใบไม้ผลิ ชาวคริสต์ต้องหยุดงานเพือ่ไปสวดมิซซา ในวันนี้พระสันตปะปาจะประทานพรในฝรั่งเศสตามธรรมเนียมทำการมอบไข่ (ชอกโกแลต) หรือของประดับธรรมเนียมอิ่น ๆเกี่ยวกับอาหาร : ทานแกะ Lundi de Pâque ในยุคกลางตลอดสัปดาห์หลังเทศการอีสเตอร์เป็นสัปดาห์นักขัตฤกษ์ ในปัจจุบันเหลือลงเพียงวันจันทร์ และไม่ใช่งานฉลองที่เคยทำอย่างสม่ำเสมอ ในกรณีของฝรั่งเศสไม่มีการฉลองเป็นพิเศษ Annonciation 25 มีนาคม ตามศาสนาคริสต์ เทวดากาเบรียล นำสารมาบอกมารีถึงการตั้งครรภ์พระเยซู 9 เดือนก่อนวันคริสต์มาสถือได้ว่าเป็นวันจุติของพระเยซู Souvenir déportés เป็นวันระลึกถึง 150000 ฝรั่งเศสที่ถูกนำตัวไปเข้าค่ายกักกันของนาซี ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 วันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายนวันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายน Fête du travail 1 พฤาภาคม เป็นธรรมเนียมของผู้ใช้แรงงานในการต่อสู้ที่มีอยู่ทั่วโลก ในประเทศส่วนใหญ่จัดเป็นวันหยุดประจำปี ประเทศฝรั่งเศสเริ่มต้นในปี 1919 และในปี 1947 เป็นวันหยุดเต็มวันโดยได้รับค่าแรงด้วย ในวันนี้สหภาพแรงงานต่าง ๆ จะเดินขบวนกันตามเมืองต่าง ๆ ของประเทศ และมีการมอบช่อดอกมูเก้ด้วย Jeudi de l’Ascension เป็นการฉลอง 39 วันหลังจากเทศกาลอีสเตอร์ หลังจากลงมาเผยแพร่คำสอน พระเยซุก็ได้เสด็จกลับขึ้นสวรรค์ Victoire 1945 ชัยชนะทีมีต่อเยอรมันในยุคการครอบครองโดยทหารนาซี สันติภาพได้กลับคืนสู่ทวีปยุโรป โดยสัญญาสงบศึกที่ทำขึ้นในวันที 8 พฤษภาคม 1945 เวลาประมาณเที่ยงคืน โดยมีนายพลโซเวียต Jpukov ฝ่ายนาซี Keitel ผู้แทนจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และนายพล de Lattre ของฝรั่งเศส เป็นวันนักขัตฤกษ์ตั้งแต่ปี 1953 แต่ได้ถูกยกเลิกไปในสมัย V.Giscard d’Estaing และได้กลับมากำหนดใหม่ในยุคของ F.Mitterrand 1 มิถุนายน 1981 Dimanche de Pentecôte เป็นวันเทศกาลของชาวคริสต์ กำหนดขึ้น7 อาทิตย์หลังเทศกาลอีสเตอร์ เพื่อรำลึกถึงวิญญาณศักด์สิทธิ์ที่ลงมาจาก... Trinité วันเทศกาลของชาวคริสต์ อาทิตย์ที่ 8 หลังจากเทศกาลอีสเตอร์ ปัจจุบันไม่ค่อยมีการเฉลิมฉลองมากนัก ในศาสนาคริสต์ ทรินิเต้เป็นการกล่าวถึงพระเจ้าใน 3 บุคคล พระบิดา บุตร และพระจิต Fête Dieu ฉลองในวันพฤหัสบดีถัดจากวันทรินิเต้ (หรืออาจวันอาทิตย์ขึ้นอยู่กับทางปฎิบัติ) ฉลองถึงความเสียสละของพระคริสต์ โดยมีการแบ่งขนมปัง Fête des mèresกำหนดเป็นทางการในปี 1928 กำหนดไว้ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม (หรือกรณีพิเศษเลื่อ่นไปในเดือนมิถุนายนหากชนกับปงโดโค๊ต) ในปัจจุบัน กลายเป็นการค้าและเป็นวันที่ชื่นชอบของเด็ก ๆ Fête des pères เช่นเดียวกับวันแม่ แต่มีกำหนดขึ้นเป็นทางการในปี 1952 Fête Nationale รำลึกถึงวันแห่งการปฎิวัติของฝรั่งเศส 1789 โดยเฉพาะการทำลายคุกบาสตีล ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1978 คุกบาสตีลเป็นคุกสำคัญของปารีส และเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจกษัตริย์ ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 ชาวกรุงปารีสได้ทำการเผาและเข้ายึดคุก การเข้ายึดคุกบาสตีลนี้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการก่อตั้งสาธารณรัฐฝรั่งเศส Assomption 15 สิงหาคม วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกที่ทำการฉลองในการที่พระแม่มารีขึ้นสู่สรวงสวรรค์ เป็นวันสำคัญกลางฤดูร้อนมีการ........ Croix glorieuse 14 กันยายน กำหนดโดยจักรพรรคดิ์กองสตองแตง ในปี ค.ศ. 335 ในปัจจุบันมีการฉลองในวันนี้ไม่มากนัก Toussaint 1 พฤศจิกายน วันทางศาสนาของชาวคาทอลิก ในการเฉลิมฉลองให้กับทุกนักบุญโดยโบสถ์โรมัน ในวันนี้ได้กลายเป็นวันเยี่ยมหลุมฝังศพ เพือ่วางดอกไม้กับผู้เสียชีวิตไปแล้ว และดอกคริสซองแตม Défunts 2 พฤศจิกายน ในฝรั่งเศสรวมกันกับวันหยุดตุสแซง วันสิ้นสุดสงคราวโลกครั้งที่ 1 (Armistice 1918) 11 พฤศจิกายน 1918 รำลึกถึงการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยมีการเซ็นสัญญายุติสงครามมที่ Rethondes ป่า Compiège (Oise) Christ Roi วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกอาทิตย์สุดท้ายของปี 5 อาทิตย์ก่อนคริสต์มาส Avent ช่วงเวลาหลังจากคริสต์มาส ระหว่าง 3-4 สัปดาห์ คริสต์มาส (Noël) เป็นเทศกาลการเกิดของพระเยซูคริสต์ มีการกำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 354 โดยสันตปะปา Libère มีการประดับตกแต่งในวันที่ 24 ธันวาคมตอนเย็น ด้วยต้นสน คอกเด็ก ของขวัญ และทานอาหรระหว่างครอบครัว เทศกาลนี้ยังกลายเป็นสัญสักษณ์การทำค้าขาย อย่างมหาศาล Saint famille ต่อจากคริสต์มาส (อาทิตย์หรือศุกร์ถัดไปหากวันคริสต์มาส ตรงกับวันอาทิตย์)เป็นการสร้างครอบครัวโดยเยซูและมีบุพการีคือ มารีและโยเซพ Les Fêtes des français Le 31 décembre, c'est la St. Sylvestre et le 1er janvier, c'est le jour de l'An. On se réunit en famille ou entre amis autour d'un repas de fête qui varie selon les régions. À minuit exactement, on s'embrasse en s'adressant des voeux, « sous le gui», plante que l'on trouve sur certains arbres, que l'on accroche au-dessus des portes ou à l'intérieur des maisons pour le nouvel an et qui porte bonheur. Le 6 janvier, c'est l'Épiphanie ou fête des rois. Chez le pâtissier, on achète des galettes qui contiennent un petit objet appelé fève. La plus jeune de la famille, les yeux bandés, donne les parts de galettes : « Pour tante Jeanne, pour papa, pour monsieur Despoyes...» Chacun mange en essayant de ne pas avaler la fève. Celui qui la trouve est couronné roi (ou reine), choisit sa reine (ou son roi) et la famille ou les amis lèvent leur verre en disant : « Le roi boit, la reine boit.» Le 2 février, c'est la chandeleur, fête religieuse et aussi fête gourmande. Ce jour-là, dans toutes les familles on fait des crêpes. Fines, fines et dorées comme des soleils, elles volent, suivies par les regards admiratifs des enfants. Si elles pouvaient tomber directement dans la bouche ! Faites sauter des crêpes avec une pièce de monnaie dans la main, et vous serez riche toute l'année... Le 8 février, c'est le Mardi Gras, le dernier jour du carnaval précédant le carême (période de jeûne pour les catholiques pratiquants). Les enfants, et parfos les adultes, se déguisent. On mange des petits gâteaux qui selons les régions, s'appellent merveilles, oreillettes ou bugnes. Le 14 février, c'est la St. Valentin, fête des amoureux depuis le XVe siècle. Aujourd'hui, on célèbre cette fête en envoyant une carte, ou en offrant un cadeau à celle ou celui que l'on aime. Un dimanche en mars ou en avril, c'est Pâques, la plus grande fête chrétienne qui commémore la résurrection du Christ. Les enfants cherchent, dans les jardins ou dans les appartements, des oeufs, des poules, des lapins, des poissons en chocolat que les cloches, qui viennent de Rome, déposent en survolant le ciel de France. Le 1er avril, c'est le jour des farces. Tout est permis ou presque ! Les enfants et même les adultes inventent des farces. - Papa, ton directeur a téléphoné. Il voudrait que tu l'appelles. - Allô, Monsieur le directeur... - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! - Tu as vu, Durand, on va augmenter les impôts de 20 %. - De 20 % ! Ce n'est pas possible. - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! - Annie, tu as une grosse tache dans le dos de ta robe. - Oh ! mon Dieu, je ne peux pas aller danser comme ça; je rentre à la maison. - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! Le 1er mai, c'est la fête du travail et du muguet. Les rues de Paris et même le métro sentent bon, tellement il y a de petits marchands de muguet. On en achète pour soi, on en offre, on en met un brin sur sa veste, sur sa blouse. C'est le printemps, il fait beau, on se promène, on va pique-niquer à la campagne, pêcher, jouer aux boules. Demain, déjà, il faudra reprendre le chemin de l'usine, du bureau, du lycée... Le 21 juin, c'est le jour le plus long de l'année et c'est la fête de la musique. À l'occasion de cette fête, il y a des manifestations spontanées ou organisées autour de la danse et de la musique, dans les villes et les villages. Le 14 juillet, c'est la fête nationale. La veille, dans toutes les villes de France, on tire de beaux feux d'artifice et on danse dans les rues, même à Paris. Le lendemain matin, on applaudit le défilé militaire. Les grandes vacances commencent. La grande fête des vacances dure du 1er au 31 août. Malgré les efforts du gouvernement, presque tous les Français prennent leurs vacances en même temps. Beaucoup d'usines ferment, une grande quantité de magasins en font autant. Madame et les enfants sont à la mer. Monsieur est retenu en ville par son travail. Chez lui, tout seul, il découvre les plaisirs de la cuisine, du ménage, du lavage, du repassage. il fait des kilomètres pour trouver une boulangerie ou une blanchisserie ouverte. Mais ô merveille, il peut garer sa voiture partout, et il apprend les langues étrangères, car sauf les autres malheureux, ses frères, il n'y a plus en ville que des touristes étrangers qui s'étonnent de trouver places et avenues désertes. Pendant ce temps, sur les plages, on se disputent le moindre centimètre carré... Le 1er novembre, c'est la Toussaint, le jour des morts. Dans les cimetières, les tombes sont fleuries de chrysthèmes. Malgré la tristesse générale, les écoliers sont heureux d'avoir les premiers jours de congé de l'année. Le 25 novembre, c'est la Saint-Catherine, une fête bien parisienne. Les jeunes filles qui ont vingt-cinq ans et ne sont pas encore mariées « coiffent la Sainte-Catherine ». Ces catherinettes mettent des fleurs devant la statue de leur sainte qui se trouve dans la rue du même nom. Pour cette journée, elles ont fabriqué de merveilleux bonnets jaune et vert, plus originaux les uns que les autres. Dans les grandes maisons de couture surtout, on danse, on boit du champagne. La catherinette est la reine de la journée. Le 25 décembre, « tant l'on crie Noël qu'à la fin il vient ». C'est la fête des fêtes, la lumière de l'hiver, le plaisir de tous. Les étoiles, la neige, les sapins, les cadeaux, les cloches composent le tableau. Toute la famille se réunit devant le réveillon. On mange traditionnellement de la dinde et un gâteau appelé bûche de Noël. Les enfants nettoient les cheminées, cherchent leurs plus grandes chaussures, Le Père Noël prend la route... จากหนังสือ LA FRANCE EN DIRECT เล่ม 2 : Janine CAPELLE & Guy CAPELLE [สำนักพิมพ์ HACHETTE] และ LA FRANCE AU QUOTIDIEN : Roselyne ROESCH & Rosalba ROLL-HAROLD [สำนักพิมพ์ PUG] คำศัพท์ [lexique] : - varier (v.) = แตกต่าง, หลากหลาย - selon (prép) = ตาม, สอดคล้องกับ - (s') adresser = พูด, กล่าว, แสดง, ส่ง - voeu(x) (n.m.) = คำอวยพร, ความปรารถนา - gui (n.m.) = เถาวัลย์ไม้ชนิดหนึ่ง - accrocher (v.) = แขวนไว้, เกี่ยวไว้กับ - porter bonheur (v.) = นำความสุขหรือโชคมาให้ - galette (n.f.) = ขนมชนิดหนึ่ง นิยมรับประทานกันในเทศกาล fête des rois - contenir (v.) = ประกอบไปด้วย, บรรจุ - fève (n.f.) = เมล็ดถั่ว - bander (v.) = ปิด, คาดด้วยแถบผ้า... - avaler (v.) = กลืน - couronner (v.) = สวมมงกุฎ - fin / fine (adj.) = บาง, ละเอียด, ประณีต - doré (adj.) = ที่เป็นสีทอง - regard (n.m.) = สายตา, การมอง - admiratif / admirative (adj.) = ที่ชื่นชม / admirer (v.) = ชื่นชม, ชื่นชอบ - sauter (v.) = กระโดด, โยนให้ลอยขึ้นไป - carnaval (n.m) = งานคาร์นาวัล - précéder (v.) = นำ, นำหน้ามา - carême (n.m.) = การถือศิลอด - jeûne n.m) = การงดอาหาร - pratiquant (adj. et n.) = บุคคลที่เคร่ง, ที่ฝึกปฎิบัติ - se déguiser (v.) = แปลงโฉม, แปลงร่าง, อำพรางกาย - amoureux (adj. et n.) = ที่มีความรัก, คนที่มีความรัก - comémorer (v.) = ระลึกถีง - résurrection (n.f.) = การฟื้นคืนชีพ - déposer (v.) = วางไว้, ปล่อยไว้ - survoler (v.) = บินเหนือ - farce (n.f.) = เรื่องตลก, เรื่องหยอกล้อ [= blague] - impôt (n.m.) = ภาษีรายได้ - tache (n.f.) = รอยเปื้อน - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! [ใช้พูดเมื่อเราอำหรือหรอกใครได้เป็นผลสำเร็จ = April Fool !] - muguet (n.m.) = ดอกไม้ชนิดหนึ่งมีสีขาวและกลิ่นหอม มีลักษณะเป็นรูปทรงกระดิ่งเล็ก - tellement (adv.) = มาก, มากเหลือเกิน - sentir bon (mauvais) = มีกลิ่นหอม (เหม็น) - brin (n.m.) = กิ่งเล็กๆ - jouer aux boules = เล่นกีฬาเปตอง (=faire une partie de pétanque) - reprendre le chemin de ... = กลับ (มาทำงาน, มาโรงเรียน ...) - manifestation (n.f.) = การแสดงออก - spontané (adj.) = (ในที่นี้ = การแสดง) สด, ปัจจุบันทันด่วน - organisé (adj.) = (ในที่นี้ = การแสดง) ที่จัดหรือเตรียมการ - autour (prép.) = รอบๆ, (ในที่นี้ = เกี่ยวกับ) - veille (n.f.) = วันก่อนหน้า(วันงานหรือเทศกาล) - feu(x) d'artifice (n.m) = พลุ, ดอกไม้ไฟ - lendemain (n.m.) = วันรุ่งขึ้น (วันหลังจากงานหรือเทศกาล) - applaudir (v.) = ปรบมือ - défilé (n.m.) = การเดินแถว, การเดินโชว์ / un défilé militaire = การเดินสวนสนามของทหาร / un défilé de mode = การเดินแฟชั่น - malgré (prép.) = ทั้งๆที่, ถึงแม้ว่า - effort (n.m.) = ความพยายาม - être retenu (v. au passif) = ถูกรั้งไว้, ติดธุระ, ไม่ว่าง - lavage (n.m.) = การซักล้าง / laver (v.) = ซัก, ล้าง - repassage (n.m.) = การรีดผ้า / repasser le linge (v.) = รีดผ้า - merveille (n.f.) = ความมหัศจรรย์, สิ่งมหัศจรรย์ / merveilleux / merveilleuse (adj.) = มหัศจรรย์ - (se) garer (v.) = จอดรถ... - sauf (prép.) = ยกเว้น, นอกจาก - (s') étonner (v.) = ทำให้ประหลาดใจ, รู้สึกประหลาดใจ - place (n.f.) = (ในที่นี้)จตุรัส, ที่ว่าง, ที่นั่ง, สถานะ - désert / déserte (adj.) = ที่ไร้ผู้คน, ที่ว่างเปล่า - moindre (adj.) = (ขั้นสูงสุดของ petit) เล็ก, น้อยที่สุด - carré (adj. et n.m.) = (สี่เหลียมจตุรัส) ตาราง (เมตร, กิโลเมตร..) - mort (adj.) = ที่ตายแล้ว / un mort (n.m.) = คนที่ตาย / la mort (n.f.) = ความตาย - cimetière (n.m.) = สุสาน, ที่ฝังศพ - fleurir (n.f.) = ประดับด้วยดอกไม้, ผลิดอก, ออกดอก - congé (n.m.) = วันหยุด - coiffer (v.) = ทำผม / coiffe (n.f.) = เครื่องประดับผม / coiffure (n.f.) = ทรงผม / coiffeur / coiffeuse (n.) = ช่างทำผม - saint(e) (n.) = นักบุญ - fabriquer (v.) = ผลิต, ทำขึ้น - bonnet (n.m.) = หมวก - original (adj.) = แปลก, ประหลาด - maison de couture (n.f.) = ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า - catherinette (n.f.) = สาวๆที่ชื่อคาทรีน (สาวน้อยคาทรีน) - tant (adv.) = มาก, มากเหลือเกิน - lumière (n.f.) = แสง - sapin (n.m.) = ต้นสน / sapin de Noël = ต้นคริสต์มาส - cloche (n.f.) = กระดิ่ง, ระฆัง - composer (v.) = ประกอบขึ้นเป็น, ทำขึ้น - réveillon (n.f.) = อาหารมื้อพิเศษ ที่รับประทานกันในวันคริสต์มาส และ วันขึ้นปีใหม่ - bûche de Noël (n.f.) = ขนมเค๊กรูปฟืนไม้ ที่รับประทานกัน ในวันคริสต์มาส - dinde (n.f.) = / dindon (n.m.) = ไก่งวง - cheminée (n.f.) = (ในที่นี้)เตาผิง, ปล่องไฟ - prendre la route (v.) = ออกเดินทาง

วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

ตรวจสอบรายชื่อคนที่ส่งงาน 25 กันยายน 2556

แนะนำ Je m' appelle Manlika Nuamprem je m'appelle Nanthiphak Inyong no.7 m.5/7 วันเเม่ je m'appelle Peekanjana sinvarawiwat no.14 m.5/7 วันเเม่ของไทย je m'appelle Pathita sorasit no.28 m.5/7วันเเม่ของไทย Je m' appelle chaninath adulyalitthikul (ชนินาถ อดุลยฤทธิกุล) fete des meres ninath adulyalitthikul classe 5/7 no: 18 Bon Jour madame , Je m'a appelle Suputtra dee-eam no . 12 m.5/7วันเเม่ของไทย .Mon nom est Atjima Jaimai . วันแม่ (อารียา นามสีชาติ) Je Prénom Wanwipawee. : ฉันชื่อ วรรณวิภาวี Nom. SoSud : นามสกุล โสสุดClasse. : 6/7No. : 30วันแม่ของประเทศไทย มีเพื่อนฝากส่งรายงานตัวด้วยนะคะ เนื่้องจากเพื่อนไม่มีอีเมลค่ะ Bonjour madame. Je m'apelle Pimpinee Petsilachai Niveau secondaire 5/7 no. 37 Je m'apelle Sirada Sangthong Niveau secondaire 5/7 no. 43 Je m'apelle Ratchadaporn Thuanthad Niveau secondaire 5/7 no. 41 Je m'apelle Piyaput Sroysangim Niveau secondaire 5/7 no. 33 Nom : Panichanun Prenom : Chareonpanitpunclass : 5/7 no : 15 วันเเม่ Je m'appelle Banlang limboon-ngam. นายบัลลังก์ หลิมบุญงาม เลขที่ 17 ม.4/7 น.ส.ณัฐฐาพร สังวาลย์แย้ม ม.5/7 เลขที่ 21‏ fete des meres นัฐนิชา ทรัพย์ประทุม แนะนำ วันแม่ของประเทศไทย และ วันแม่ของประเทศฝรั่งเศส je m' appelle Nutnicha Subprathum M.6/7 No.6 น.ส. อภิญญา บุญลือ ม.6/7 เลขที่ 34 วันแม่ Je'm appelle thitipon tunson แนะนำ วันแม่ Supanita somdee 4/7 No 38 วันแม่ Je m’appelle: Sarunpron PomrukClasse: 4/7 แนะนำ Thanakorn Deesri 4/7 วันแม่ กิตติยา แสงสังข์ 4/7 N 40 วันแม่ Je m'apelle Tharadon Pengsawat4/7 -5 แนะนำ ศรัณย์พร พรมรักษ์ เลขที่ 33 วันแม่ ปธานิน ไชยโย 4/7 วันแม่ Kitisak chareewan M.4/7 No.1 วันแม่ Ratchadaporn ThuanThad M.5/7 No. 41วันแม่ Piyaput Sroysangim M.5/7 N.33 วันแม่ Sirada Sangthong M.5/7 No.43 วันแม่ Pimpinee Petsilachai M.5/7 No.37 วันแม่ 6/7 -26 Je m'appelle Prapawadee Poonperm แนะนำ วันแม่ Je m'appelle Athitiya Thongprang แนะนำ วันแม่ นันทวรรณ์ สุนทรภักดี ม.6/7 เลขที่ 7‏ แนะนำ วันแม่ วันแม่ แนะนำนางสาวธิดารัตน์ ผันปัญญา เลขที่22 ม.5/7 นางสาว สุนันทา สุคันธพฤกษ์ Niveau 6/7 แนะนำ วันแม่ Bonjour je m' appelle Pitchaporn mepin M.6/7 No.28 แนะนำ วันแม่ Je m'appelle piyawat singsuwan grade 4/7. แนะนำ Je m'apelle Suchanan Rianwattana M.6/7 No.31 แนะนำ วันแม่ 6/7 -18 Bonjour je m'appelle Kannika Changyo แนะนำ จิราภา ศรีนารี ม.6/7 เลขที่ 21‏ วันแม่ ‏วันแม่ กรรณิการ์ เชียงโญ ม.6/7 เลขที่ 18‏ วันแม่ วรรณวิภาวี โสสุด ม.6/7 เลขที่ 30‏ fete des meres น.ส.ณัฐฐาพร สังวาลย์แย้ม ม.5/7 เลขที่ 21‏ แนะนำ นางสาวกฤติยาภรณ์ ขัดทะจันทร์ ชั้นม.6/7 เลขที่19‏ วันแม่ แนะนำ นางสาวรุ่งนภา สมัครกสิกิจ ชั้น ม.5/7 เลขที่ 42 วันแม่ แนะนำ นางสาวปลิตา เลี่ยวเส็ง ชั้น ม.5/7 เลขที่ 31 วันแม่ แนะนำ • แนะนำตัว ชาลินี ธรรมลิขิต ม.6/7‏ วันแม่ • นางสาวนันทวัน ปรีกราน เลขที่ 25 วันแม่ แนะนำ5/7 • นางสาวพิณัฏฐา หนูมี เลขที่ 36 วันแม่ แนะนำ5/7 • Je m'appelle Zedtharad Phimthai.6/7 แนะนำ วันแม่ ชื่อ นางสาว ภรนันต์ เรืองสว่าง ชั้น ม.6/7 เลขที่ 13 แนะนำ น.ส.จุฑามาศ สาดแฟง เลขที่ 12 ชั้นม.6/7แนะนำ วันแม่ นางสาวยุพารัตน์ สุขสุวานนท์ เลขที่29 6/7 วันแม่ ฉันชื่อ อรพรรณ Nom. Tongjun : นามสกุล ทองจันทร์ Classe. : 6/7 No. : 35 วันแม่ วันแม่ จุทาลักษณ์ แก้วประหลาด 4/7-37 นพวิทย์ สระทองอิน 4/7 -8 วันแม่ เนตรศิริ เรืองรัตนโสภณ 4/7 -30 วันแม่ นางสาว ปรารถนา สั่งสอน เลขที่ 27 ชั้น ม.6/7 วันแม่ แนะนำ ดิฉันชื่อนางสาวธาราบุตร ภาคีมุข เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7 วันแม่ นางสาว ยลดา สนมศรี เลขที่14 ม.6/7 วันแม่ Je m' appelle Nathapol Hongsawat Niveau secondaire 5/7 แนะนำ วันแม่ Je m' appelle Tanu Panthong Niveau secondaire 5/7 แนะนำ วันแม่ แนะนำตัว+รูปภาพ นายฉัตรชัย ฮอคคินส์ ม.4/7 เลขที่ 2 Je m'a appelle thitima Changkorn no.19 m.5/7 แนะนำ วันแม่ Je m'a appelle Farsui kattiyod no.38 m.5/7แนะนำ วันแม่ วันแม่ นางสาว เบญจมาศ พรหมณี ม.6/7เลขที่25‏ วันแม่ นางสาว จุฬาลักษณ์ บรรจงเปลี่ยน ม.6/7 เลขที่ 22‏ (ศรัณย์พร พรมรักษ์ 4/7) วันแม่ ญาดา ผลเทิ้ม 4/7 -20 คนที่ส่งในกระดาษ A 4 รายชื่ออยู่ที่มาดามนะ

วันศุกร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556

Bravo มาดามแจกไอศกรีม

งานมี 3 รายการ ใครส่งรายการไหนแล้ว ตรวจสอบด่วน ส่ง mail ไม่ได้ ให้ส่ง ใน A 4 หรือสมุดแบบฝึกหัด ส่งที่ อาจารย์ SYLVAIN ได้เลย ส่วนสมุดจดบันทึกเล่มเล็กรายสัปดาห์ ต้องส่งทุกคนนะคะ ภายใน 20 กันยายน เตรียมรอรับเกรด 4 และไอศกรีม ทุกคน ก่อนปิดเทอม
ผู้ที่ส่งงาน ตั้งแต่ วันที่ 8-14 กันยายน 2556 12.00 น วันแม่ French VS Thai Fête des Mères และ วันแม่ไทย R อ่านแล้วสรุป สรุป วันแม่ในประเทศไทย จัดขึ้นวันที่ 12 สิงหาคมของทุกปี วันแม่ในประเทศฝรั่งเศสจัดในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม ของทุกปี สิ่งที่เหมือนกันในประเทศไทยกับฝรั่งเศส คือ วันแม่เป็นวันที่ลูกได้แสดงถึงความรักของลูกที่มีต่อแม่ และแสดงความรักของแม่ที่มีต่อลูก ข้อแตกต่าง คือ วันแม่ในประเทศไทย ลูกจะนำพวงมาลัยมากราบแม่ และมีพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ส่วนประเทศฝรั่งเศส จะมีการเลี้ยงฉลองกันในวันแม่ นาย พงศธร รัตนมงคลกุล ม.6/7 เลขที่ 3 Je m' appelle : wanida buasri J'ai 16 ans J.habite a' ayutthaya Je suis etudiante a'lecde thammasatkhlongluangwittayakom Je'suis thailandaise Je'viens de ayutthaya J'aime shopping Je n'aime zoo Je suis grosse Je suis belle et je le sais สวัสดีครับ มาดามรุจิรา ผม นาย วัชรากร ปิ่นสุวรรณ ม.4/7 เลขที่ 20 ขออนุญาตส่งงาน 1.งานแนะนำตัว 2.งานวันแม่ Fête des mères ครับ ขอกราบขอโทษที่ส่งงานช้าครับ เพราะตอนแรก ผมไม่รู้ที่อยู่อีเมล์ของมาดาม แต่ตอนนี้ผมรู้แล้วครับ ผมพึ่งย้ายเข้ามาที่โรงเรียนนี้เป็นปีแรก ผมเลยยังไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรของที่นี่มากครับ ขอโทษครับ ให้คะแนนผมเยอะๆด้วยนะครับ ขอบคุณครับ présentation Je m’appelle watcharakorn pinsuwan Je suis thaïlandaise J'habite à Pathumtanee J’ai Zeize ans Je suis élève en seconde à l'école Thammasatkhlongluangwittayakom. J'aime le français etl'anglais วันแม่ของประเทศไทย และ Fête des meres แตกต่างกันอย่างไร? ประวัติวันแม่ของแม่ พ.ศ.2519 ทางราชการได้เปลี่ยนใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ เริ่มในปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันแม่แห่งชาติ 1. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน 2. จัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ 3. จัดกิจกรรมการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตร รอุทิศส่วนกุศลเพื่อรำลึกถึงพระคุณของแม่ 4. นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่ ที่ใช้ในวันแม่ สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ ซึ่งมีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย วันแม่ (Fête des mères) กำหนดเป็นทางการในปี 1928 กำหนดไว้ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม (หรือกรณีพิเศษ เลื่อนไปในเดือนมิถุนายนหากชนกับ La Pentecôte : (10 jours après l'Ascension) ในปัจจุบัน กลายเป็นการค้าและเป็นวันที่ชื่นชอบของเด็ก ๆ วันแม่ของทั้ง 2 ประเทศไม่แตกต่างกันมาก เพราะ โดยรวมแต่ละประเทศมีวันนี้ก็เพื่อ แสดงถึงพระคุณของแม่ และความรักของแม่ที่มอบให้อย่างยิ่งใหญ่ และเป็นโอกาสดีที่จะตอบแทนพระคุณแม่ ในตามแบบฉบับของคนไทย หรือ คนฝรั่งเศส ไม่ว่าใครก็รักแม่ด้วยกัน Bonjour madame. Je m'apelle Panichanun Chareonpanitpun (พณิชนันท์ เจริญพาณิชย์พันธ์) Niveau secondaire 5/7 (มัธยมศึกษาปีที่ 5 / 7 ) No. 15 Bonjour Madame Je m'appelle Supanita somdee. J'ai 15 ans. Je vis aux 37/24 District Klongnueng Préfecture Klongluang Province Pathumthani Je suis étudiant en à l'école Thammasat Klong luang Wittayakom. Je suis étudiant au grade 4/7 no.38 Bonjour Je m’appelle: Sarunpron Pomruk Classe: 4/7 Je suis née le 12 Novembre 1997 J’ ai 15 ans Je suis Thailandaise J’ habite à Pathumtani Je viens ds Pathumtani J’ aime sortir Bonjour Je m’appelle: Patanin Chaiyo Classe: 4/7 Je suis née le 26 September 1997 J’ ai 15 ans Je suis Thailandaise J’ habite à Pathumtani Je viens ds Pathumtani J’ aime sortir Bonjour !! Je m'appelle Chinakrich parditja. Je suis étudiant au grade 4/7. J'avais 16 ans J'ai étudié à l'école Thammasat Klongluang Wittayakom. Bon Jour madame , Je m'a appelle Peekanjana Sinvarawiwat no.14 J'ai 16 ans Je suis' etudent (e) a'le'cole de thamasartklongluangwittayomkom J'aime le ch…. Merci . Madame

วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556

ชวนเพื่อนส่งงาน

Comment bien se préparer à l’examen ? นักเรียนที่รักทุกคน เพื่อเตรียมตัวสอบและการได้คะแนนเก็บแบบเต็ม ๆ ช่วงเวลาต่อไปนี้คือการส่งงานที่นักเรียนต้องรีบดำเนินการด่วนเลยนะคะ มีเอกสารติดตามทวงงานแล้วเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2556 มาดามอยากให้เกรด 4 วิชาสืบค้น internet ทุกคนเลย ช่วยมาดามด้วยนะ

วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ใคร ต้องอะไร อย่างไร จึงจะได้เกรด 4

Chers , R นักเรียน 4/7 5/7 และ 6/7 โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม ที่รักทุกคน งานที่ต้องส่ง ภาค 1/56 คือ 1.รายงานตัว ส่งมาทาง mail หรือส่งใน A4 กรณีส่งmail ไม่ได้ 2. สรุปวันแม่ ไทย และ fete des meres ของฝรั่งเศส เหมือนหรือต่างกันอย่างไร เน้นนะ สรุป หมายถึง อ่านก่อนแล้ว พิจารณาสิ่งที่เหมือน สิ่งที่ต่างกัน ส่งมาทาง mail หรือส่งใน A4 กรณีส่งmail ไม่ได้ คนที่ส่งงานแล้วชื่อจะขึ้น web เป็นระยะ ตรวจสอบกันเองนะคะ P.S. ได้ทราบข่าวว่า นักเรียนเข้าเรียน ตั้งใจเรียน ร่วมกิจกรรม ทำงานส่งทุกระดับชั้น แต่ยังคงมี นักเรียนที่ยังไม่ทราบว่า ต้องทำอะไร ปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะเป็นนักเรียนที่ประสบผลสำเร็จสำเร็จในการเรียนภาษาฝรั่งเศสทั้ง 2 วิชา ภาษาฝรั่งเศส และ เรียนสืบค้นผ่านสื่อinternet ดังนั้นจึงขอแจ้งให้ทราบอีกครั้งนะคะ ว่า ต้องขึ้นเรียน รักษามารยาทในการเข้าเรียน ร่วมกิจกรรม ส่งงาน แล้วทุกคนจะสอบผ่านได้เกรดสวย ๆนำไปอวดผู้ปกครอง และนำความภาคภูมิใจมาสู่ตนเอง ขอบอก ว่าไม่ยากเลย เชื่อมาดามนะแล้วจะโชคดีทุกคน

วันนี้ วันแม่ ของไทย แล้ว ฝรั่งเศส ?

Fête des Mères และ วันแม่ไทย R อ่านแล้วสรุป Date de la Fête des Mères 2013 Cette année, la Fête des Mères a lieu le dimanche 26 mai 2013 en France. Origine de la Fête des Mères En France, la toute première fête des Mères date de 1906 quand Prosper Roche remet à des mères de familles nombreuses un prix de mérite maternel dans le village d'Artas. C'est en 1918 que l'histoire se poursuit lorsque, à Lyon, est organisé la journée des Mères réunissant les mères ayant perdu leurs enfants lors de la Guerre 14-18. Puis, en 1929, on officialise la «journée des mères» qui sera placée sur le calendrier 12 ans plus tard par le Maréchal Pétain sous l'intitulé « fête des Mères ». Une loi sera instituée en 1950 qui en fixe la date au dernier dimanche de mai. Célébration de la Fête des Mères La fête des Mères est une journée spécialement consacrée à nos mamans. L'organisation en est généralement confiée à leurs enfants qui peuvent décider de leur préparer le repas. La complicité du papa leur permet de garder un effet de surprise. On doit aux instituteurs le fameux collier de pâte et autres petits cadeaux fabriqués avec amour par les enfants tout fiers d'offrir ce cadeau. Quand ils grandissent, fleurs, parfum, bijoux remplacent ce présent traditionnel. ประวัติวันแม่ แต่เดิมนั้น วันแม่ของชาติได้กำหนดเอาไว้วันที่ 15 เมษายนของทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2493 ซึ่งได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่ของสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้รับมอบหมายให้จัดงาน วันแม่ มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2493 เป็นครั้งแรกเป็นต้นมานั้นได้รับความสำเร็จด้วยดี ด้วยประชาชนให้การสนับสนุน จนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างขวางออกไป มีการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การประกวดคำขวัญวันแม่ การประกวดแม่ของชาติ เพื่อให้เกียรติและตระหนักในความ สำคัญของแม่ และเพื่อเพิ่มความสำคัญของวันแม่ให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยเหตุนี้งานวันแม่จึงเป็นวันแม่ประจำปีของชาติตามประกาศของรัฐบาลฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม แต่โดยทั่วไปเรียกกันว่าวัน แม่ของชาติ ต่อมาถึง พ.ศ.2519 ทางราชการได้เปลี่ยนใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ เริ่มในปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันแม่แห่งชาติ 1. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน 2. จัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ 3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตรอุทิศส่วนกุศล เพื่อรำลึกถึงพระคุณของแม่ 4. นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่ การจัดงานวันแม่แห่งชาติในประเทศไทย งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ.สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ.2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่ สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ ซึ่งมีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อส่งงาน

แนะนำตัว Je m'appelle Nattaporn lamai (เชอ มัป-แปล(ล)) [ฉันชื่อ ณัฐพร ลาไม้] Je suis thaïlandaise. (เชอ ซุย ไต-ลอง-แด๊ซ(เซอ)) [ฉันเป็นคนไทย] Je suis née le 21 avril1999. (เชอ ซุย เน่ เลอ ดิซ อ๊อก-ตอบ(เบรอ) มิล เนิฟ ซอง กั๊ต(เทรอ) แวง-ดู๊ซ) [ฉันเกิดวันที่ 21 เมษายน2540] J'ai Zeize ans. ([เชแซซ เซ่ะ] ) [ฉันมีอายุ 16 ปี] - Il y a Cinq personnes dans ma famille. (อิล ลิ ยา กั๊ต(เทรอ) แปร์-ซอน(เนอ) ดอง มา ฟา-มี(เยอ)) [มี 5 คน ในครอบครัวของฉัน] - Je suis élève en seconde à l'écoleThammasatkhlongluangwittayakom. (เชอ ซุย เอ-แล๊ฟ(เวรอ) ออง เซอ-กง(เดอ) อะ เล-กอล(เลอ)ธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม [ฉันเป็นนักเรียนชั้น ม.4 อยู่ที่โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม] Bonjour! Je m'appelle Kanyarat rerkdee Je suis en M. 4/7 No: 23 Bonjour Je m'apelle Kittiya Seangsang Je suis née le 18 Juin 1997 J'ai 16 ans Bonjour Je m’appelle: Sarunpron Pomruk Classe: 4/7 No: 33 J’ ai 15 ans Je suis Thailandaise J’ habite à Pathumtani Je viens ds Pathumtani J’ aime sortir Bonjour Je m’appelle: Yada Polterm Classe: 4/7 J’ ai 15 ans Je suis Thailandaise J’ habite à Pathumtani Je viens ds Pathumtani J’ aime sortir Bonjour Je m’appelle: Thanakorn Deesri Classe: 4/7 J’ ai 15 ans Je suis Thailandaise J’ habite à Pathumtani Je viens ds Pathumtani J’ aime sortir Bonjour Je m’appelle: kiddanai sommut Classe: 4/7 No : 12 J’ ai 15 ans Je suis Thailandaise J’ habite à Pathumtani Je viens ds Pathumtani J’ aime sortir Bonjour Je m'appelle Julalak Bunjongplean j ' ai 17 ans. classe 6/7 No. 22 Bonjour Je m'appelle Apinya Boonlue J'ai 18 ans. Classe 6/7 No 34 Bonjour Je m ' appelle Thitipon Tunson J' ai 17 ans. classe 6/7 no 23 แนะนำตัว ดิฉันชื่อนางสาวอรพรรณ ทองจันทร์ ชั้นม.6/7 เลขที่ 35 Bonjour! Je m'appelle Siriyaporn simmapap ( ศิริญาพร สิมมาภาพ) Je suis en M. 5/7 No: 44 Bonjour à tous -Je m'appelle Jutamat Jinnarat - Je suis née le 7 Octobre 1998. J'ai 15 ans. -Je suis étudiante. -J'habite à Phathumthani en Thailande. -J'aime le français et l'anglais. -Il y a cinquante quarante-sept ma classe. -Kitsana est ma meilleure amie. -Je vais à l'école en voiture. -J'aime écouter de la musique et j'aime la lecture. Bonjour! Madame Je m'appelle Nattanicha Pinno ( ณัฏฐณิชา พินโน) Je suis en M. 5/7 No: 20 J´ai 16 ans. J'aime le français etl'anglais. ฉันชอบภาษาฝรั่งเศส และอังกฤษ J'habite à Pathumtanee. ฉันอาศัยอยู่ที่ปทุมธานี Merci ขอบคุณค่ะ Présentation Je m’appelle Benjamas Raksasakdi Je suis thailandaise Je suis née le 27 février 1998 J’ai 15 ans. Je suis élève en seconde à L’école thammasat klongluang wittayakom. Chanoknet est ma meilleure amie. Prénom: Benjamas Nom: Raksasakdi Classe: 4/7 No: 44 Bonjour à tous -Je m'appelle Kitsana Comjumpa - Je suis née le 22 Février 1998. J'ai 15 ans. -Je suis étudiante. -J'habite à Phathumthani en Thailande. -Il y a Cinq personnes dans ma famille. -J'aime le français et l'anglais. -Il y a cinquante quarante-sept ma classe. -Variysara est ma meilleure amie. -Je vais à l'école en voiture. -J'aime aussi la mode et j'aime la lecture. D'histoire personnelle Nom : Panisara Nom de famille de : Seaykatok Âge de : 16 ans. Chaussée : 4/7 Numéro : 22 Date de naissance : 13 Mai 1997 Couleurs préférées : Bleu Plat préféré pour manger : Salade Loisirs : Écoutez de la musique anglaise Bonjour Madame Je m'appelle Kitisak Chareewan. J'ai 15 ans. Je vis aux 53/563 District Klongnueng Préfecture Klongluang Province Pathumthani Je suis étudiant en à l'école Thammasat Klong luang Wittayakom. Je suis étudiant au grade 4/7 no.1 J'aime le français. C'est une langue difficile. J'essaie d'apprendre le français. Bonjour Madame : ) Comment allez-vous? tu vas bien? Je m'appelle Nanthiphak Inyong Nom chan : ) ืAge 16 Class 5/7 No. 7 Merci madame สวัสดีค่ะมาดามรุจิรา แสงกรด ดิฉันนางสาวยุพาัรัตน์ สุขสุวานนท์ เลขที่29ตอนนี้อยู่ชั้นม.6แล้วค่ะ^^ หนูขอโทษด้วยค่ะที่มาแนะนำตัวกับมาดามช้า ความจริงต้องส่งก่อนภายใน31พฤษภาคม2556 เนื่องจากการขึ้นม.6เทอมแรกนี้มีงานมากมายและวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่อย่างเช่นต้องทำรายงานที่กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาต่างๆเชื่อมโยงต่อกัน ทำให้หนูวุ่นวายสับสนในการเคลียร์งานรวมถึงการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยและอิทธิพลจากโซเชียลเน็ตเวิลค์..นิดหน่อย แต่ตอนนี้หนูได้เริ่มจัดเวลาให้เข้าที่จะได้ไม่ค้างงาน ได้อ่านหนังสือเตรียมสอบค่ะ! หนูสัญญาค่ะว่าจะพยายามตั้งใจเรียนและส่งงานทุกวิชาให้ตรงตามเวลาค่ะ ปล.ม.6/7ปีนี้เป็นปีสุดท้ายแล้วพวกเราช่วยเหลือกันดีไม่มีทะเลาะแต่ก็มีบ้างที่จิกกัดตามประสาวัยรุ่นบ้างนิดหน่อยค่ะ Bonjour มาดาม แนะนำตัว ชื่อนาวาสวกฤติยาภรณ์ ขัดทะจันทร์ ม.6/7 เลขที่ 20 Bonjour ! สวัสดีค่ะ Je suis un Thaïlandais. : ฉันเป็นคนไทย Je Prénom Jirapa. : ฉันชื่อ จิราภา Nom. Srinari : นามสกุล ศรีนารี Classe. : 6/7 No. : 22 J'ai 17 ans. : ฉันอายุ 17 ปี Était de 53. : หนัก 53 H 161. : สูง 161 Je suis étudiante à l' école T.K. : ฉันศึกษาอยู่โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม J'habite à Pathumtanee. : ฉันอาศัยอยู่ที่ปทุมธานี J'aime écouter de la musique. : ฉันรักการฟังเพลง J'aime manger des fruits comme le mangoustan, l'orange. : ฉันชอบกินผลไม้่ เช่น มังคุด,ส้ม Bonjour mesdames. Je m'apelle Areeya Namsrichat Niveau secondaire 6/7 No. 37 Bonjour mesdames. Je m'appelle Benjamat Prommanee Niveau secondaire 6/7 No.26

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

La Fête Nationale

La Fête Nationale วันบาสตีย์ เป็นวันชาติของฝรั่งเศส ซึ่งตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ในประเทศฝรั่งเศส วันดังกล่าวถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ" (La Fête Nationale) และเรียกโดยทั่วไปว่า "สิบสี่กรกฎา" (le quatorze juillet) วันดังกล่าวเป็นการรำลึกถึงวันหยุดสมาพันรัฐ (Fête de la Fédération) ในปี ค.ศ. 1790 ซึ่งตรงกับวันครบรอบการโจมตีคุกบาสตีย์เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 หนึ่งปีพอดี วันครบรอบการบุกโจมตีคุกปราการบาสตีย์ถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์การลุกฮือของชาติสมัยใหม่ และการปรองดองชาวฝรั่งเศสด้วยราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ สมัยก่อนสาธารณรัฐที่ 1 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส งานฉลองและพิธีการทางการถูกจัดขึ้นทั่วประเทศฝรั่งเศส การเดินสวนสนามประจำปีที่เก่าแก่ที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรปถูกจัดขึ้นเมื่อเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม บนถนนช็องเซลีเซในปารีส ต่อหน้าประธานาธิบดีฝรั่งเศส ข้ารัฐการและแขกต่างประเทศ การเดินสวนสนามเริ่มจากนักเรียนทหารจากโรงเรียนทหารหลายแห่ง จากนั้นจึงเป็นทหารราบ ทหารยานยนต์ อากาศยานจากปาทรุยเดอฟร็องส์บินอยู่บนท้องฟ้า ในปัจจุบัน ได้กลายมาเป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่จะเชิญหน่วยทหารจากประเทศพันธมิตรของฝรั่งเศสร่วมเดินสวนสนามด้วย ในปี ค.ศ. 2004 อันเป็นปีครบรอบหนึ่งร้อยปีความตกลงฉันทไมตรี (Entente Cordiale) ทหารอังกฤษได้นำการเดินสวนสนามวันบาสตีย์เป็นครั้งแรก โดยมีเรดแอโรวส์บินอยู่เหนือศีรษะ ในปี ค.ศ. 2007 กองพลน้อยพลร่มที่ 26 ของเยอรมนีนำหน้าการเดินสวนสนาม ตามด้วยนาวิกโยธินอังกฤษ ในวันนี้ยังเป็นวันที่ประธานาธิบดีฝรั่งเศสจะให้สัมภาษณ์แก่สื่อ โดยอภิปรายสถานการณ์ของประเทศ เหตุการณ์ปัจจุบันและโครงการในอนาคต แต่นีกอลา ซาร์กอซี ประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนที่ 23 ปฏิเสธจะให้สัมภาษณ์ รัฐธรรมนูญแห่งฝรั่งเศส มาตรา 17 ให้อำนาจแก่ประธานาธิบดี ในการอภัยโทษแก่ผู้กระทำความผิด และตั้งแต่ ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา ประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ใช้อำนาจนี้ ในการอภัยโทษผู้กระทำความผิดเล็กๆ น้อยๆ เช่นผู้กระทำผิดกฎจราจร ในวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี แต่หลังจากปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา อดีตประธานาธิบดีซาร์กอซี ประกาศให้ยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าว การเดินสวนสนามวันบาสตีย์นั้นเป็นการเดินสวนสนามฝรั่งเศสที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในกรุงปารีสนับตั้งแต่ ค.ศ. 1880 ในตอนเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม แต่ก่อนการเดินสวนสนามดังกล่าวจัดขึ้นที่อื่นในหรือใกล้กับกรุงปารีส แต่หลังจากปี ค.ศ. 1918 ได้ย้ายมาจัดที่ถนนช็องเซลีเซ ด้วยการเห็นพ้องอย่างชัดเจนของฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นตัวแทนในการประชุมสันติภาพแวร์ซาย ยกเว้นช่วงที่เยอรมนียึดครองฝรั่งเศสจาก ค.ศ. 1940 ถึง 1944 ขบวนสวนสนามเคลื่อนลงมาตามถนนช็องเซลีเซ จากประตูชัยฝรั่งเศสไปถึงจัตุรัสกงกอร์ด ที่ซึ่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส คณะรัฐบาลและเอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศฝรั่งเศสยืนอยู่ การเดินสวนสนามวันบาสตีย์ได้รับความนิยมในฝรั่งเศส มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ และเป็นการเดินสวนสนามเป็นปกติที่เก่าแก่ที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรป ในบางปียังได้มีการเชิญทหารต่างประเทศเข้าร่วมในขบวนสวนสนามและเชิญรัฐบุรุษต่างประเทศเข้าร่วมในฐานะแขก นอกจากนี้ ยังมีการเดินขบวนสวนสนามขนาดเล็กกว่าตามเมืองที่มีกองทหารประจำอยู่ของฝรั่งเศส อันประกอบด้วยทหารในท้องถิ่นนั้น ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/

วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Le Francais เรียนเพื่ออะไร


เหตุผลที่ควรเรียนภาษาฝรั่งเศส
จากสมาคมครูฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย
ข้อมูลการเปิดสอนภาษาฝรั่งเศสในสถาบันการศึกษา
รศ. ดร. ธิดา บุญธรรม และ ดร. จงกล สุภเวชย์
ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2544 ภาษาอังกฤษได้รับการกำหนดให้เป็นสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศที่นักเรียนทุกคนต้องเรียนในทุกระดับ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุน จีน และภาษาอื่นๆ ได้ถูกกำหนดให้เป็นสาระการเรียนรู้เพิ่มเติมซึ่งผู้เรียนรู้ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งผู้เรียนที่เน้นทางภาษาและผู้เรียนที่เน้นทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สามารถเลือกเรียนได้ 1 ภาษาควบคู่กับการเรียนภาษาอังกฤษ ตามความสนใจ หรือตามที่คิดว่าจะใช้ภาษานั้นในการประกอบอาชีพ หรือในการศึกษาค้นคว้าในอนาคต ทั้งนี้การเปิดสอนภาษาใด เพื่อสนองความต้องการของผู้เรียนต้องขึ้นอยู่กับความพร้อมของโรงเรียนว่ามีครูผู้สอนที่มีวุฒิในภาษานั้นหรือไม่
ในระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนมีคณะต่างๆ ที่เปิดสอนภาษาฝรั่งเศสต่อเนื่องจากระดับมัธยมศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกภาษาฝรั่งเศสเป็นวิชาหนึ่งในสามวิชาในการสอบ A NET(PAT) เพื่อเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย
ในประเทศไทย ปี 2544 ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาต่างประเทศที่มีผู้เลือกเรียนมากเป็นอันดับ 1 แต่ละปีมีผู้เลือกเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมากกว่า 41000 คน เหตุผลในการเลือกเรียนภาษาฝรั่งเศสโดยทั่วไปก็คือ เป็นภาษาที่มีเสียงไพเราะ นุ่มนวล อยากไปเที่ยวประเทศฝรั่งเศส เพราะเป็นดินแดนแห่งศิลปวัฒนธรรมสวยงามมาก อยากร้องเพลง อ่านป้ายสินค้า เครื่องสำอาง น้ำหอมฝรั่งเศสได้ และอยากรับประทานอาหารฝรั่งเศส เพราะมีชื่อเสียงระดับโลกว่าอร่อย น่ารับประทาน และมีวิธีรับประทานที่หรูหรา ต้องดื่มเหล้าองุ่นขาวหรือองุ่นแดงแล้วแต่ประเภทอาหาร ซึ่งเป็นวัฒนธรรมในการรับประทานที่เป็นที่ยอมรับในสังคมชั้นสูง นั่นคือความสนใจเบื้องต้น
การเลือกเรียนภาษาต่างประเทศอีกหนึ่งภาษา ควบคู่กับภาษาอังกฤษ ควรมีวิจารณญาณและเหตุผลที่ชัดเจนในการเลือก เห็นความสำคัญและประโยชน์ที่กว้างขวาง มิใช่การเลือกตามแฟชั่น ผู้เรียนทุกคนคงอยากจะนำภาษาที่เรียนไปใช้ได้ในหลายๆ ประเทศ ภาษาฝรั่งเศสมิได้ใช้พูดเฉพาะในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น ภาษาฝรั่งเศสใช้พูดใน 35 ประเทศในโลก ประเทศเหล่านี้กระจายอยู่ใน 5 ทวีป ประชากร 120 ล้านคนพูดภาษาฝรั่งเศส เช่น ในยุโรป มีประเทศใหญ่ๆ ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสคือ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม สวิสเซอร์แลนด์ ลักเซ็มเบิร์ก ประเทศเล็กๆ ที่ได้ยินการกล่าวขวัญบ่อยๆ คือ โมนาโค ก็ใช้ภาษาฝรั่งเศส ทวีปอเมริการเหนือภาษาฝรั่งเศสใช้ในประเทศคานาดา ที่เมืองควิเบค และมอนทรีล ในประเทศอเมริกา ที่เมือง หลุยส์เซียน่า ในอเมริกาใต้ ที่เกาะกัวเดอลู มาร์ตินิค เฟร้นช์กิอาน่า ในทวีปอาฟริกามีอาณานิคมเก่าของฝรั่งเศสจำนวนมากที่ยังใช้ภาษาฝรั่งเศส ในเอเซีย ภาษาฝรั่งเศสยังคงใช้อยู่ในประเทศลาว เวียตนาม และกัมพูชา หากท่านคิดว่าอาจจะติดต่อทางธุรกิจกับ 35 ประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสหรือจะไปเที่ยวในประเทศเหล่านี้ ก็ควรเรียนภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้ในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปหรืออียู 25 ประเทศ ก็ยังใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งควบคู่กับภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมัน
การเรียนภาษาต่างประเทศเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการค้นคว้า วิจัย ตักตวงความรู้ทางวิทยาการและเทคโนโลยี ควรเรียนภาษาฝรั่งเศส เพราะประเทศฝรั่งเศส สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม แคนาดา มีความก้าวหน้าสูงมากในหลายๆ ด้าน เช่น ทางด้านวิศวกรรม การสร้างจรวด อาวุธ ดาวเทียม อวกาศ เคมี อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมยา เครื่องสำอาง การแพทย์ เวชภัณฑ์ การทำศัลยกรรมพลาสติก การเกษตร การตัดต่อพันธุกรรม สถาปัตยกรรม การวางผังเมือง การออกแบบตกแต่งภายใน ฯ
สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อด้านนิติศาสตร์ หรือรัฐศาสตร์ ควรเรียนภาษาฝรั่งเศสเป็นอย่างยิ่ง เพราะกฎหมายของประเทศฝรั่งเศสเป็นแม่บทกฎหมายที่สำคัญของโลก
ภาษาฝรั่งเศสมีประโยชน์ต่อการเรียนทางด้านวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาต่อทางด้านอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ ครุศาสตร์ โบราณคดี นิเทศศาสตร์ ศิลปกรรม การออกแบบ ด้านแฟชั่น การโรงแรม การท่องเที่ยว การประกอบอาหาร (restauration)
นอกจากนี้ ภาษาฝรั่งเศสยังเป็นภาษาราชการหนึ่งขององค์การระหว่างประเทศ เป็นภาษาของการกีฬาโอลิมปิค เป็นภาษาราชการของการไปรษณีย์สากล
การทำธุรกิจการค้าของประเทศไทย ควรเปิดตลาดการค้ากับประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส เพราะมีจำนวนมาก โดยเฉพาะกับประเทศต่างๆ ในทวีปอาฟริกา ซึ่งมีพลเมืองหนาแน่นและมีทรัพยากรน้ำมัน ขณะนี้บริษัทใหญ่ของฝรั่งเศสได้เข้ามาค้าขายทำธุรกิจในประเทศไทยมากกว่า 350 บริษัท สินค้าไทยส่งไปขายในฝรั่งเศสปีละหลายพันล้าน ไทยไม่เคยเสียดุลย์การค้ากับประเทศฝรั่งเศส
นักท่องเที่ยวที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเข้ามาเที่ยวและใช้เวลาพักผ่อนในประเทศไทยโดยเฉลี่ยประมาณ 7-10 วัน มากกว่าปีละ 3 แสนคน มีโรงแรมในเครือของฝรั่งเศสมาตั้งในประเทศไทยหลายโรง เราจึงจำเป็นต้องสร้างบุคลากรที่สามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสในการสื่อสารได้เป็นอย่างดี เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพทางด้านธุรกิจ การโรงแรม การท่องเที่ยว การประกอบอาหาร ภาษาฝรั่งเศสมีหลักสูตรพร้อมสำหรับการศึกษาอาชีพในด้านเหล่านี้
อนึ่ง เพื่อเป็นการสร้างเยาวชนยุคใหม่ให้มีความรู้ทางวิทยาการและเทคโนโลยีหลากหลาย ในปี 2547 รัฐบาลไทยจึงได้ส่งนักเรียนทุน "หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน" ไปเรียนในประเทศต่างๆ ที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษ นักเรียนทุนรวม 923 คน เลือกไปศึกษาต่อในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสดังนี้ เลือกประเทศฝรั่งเศส 164 คน เลือกสมาพันธรัฐสวิส 25 คน และเลือกราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 23 คน ในอนาคตเยาวชนไทยเหล่านี้จะใช้ภาษาฝรั่งเศส และนำวิทยาการจากประเทศที่เรียนมาใช้ในการพัฒนาประเทศ คาดว่าทุนรัฐบาลไทยในปี 2549 จะมีผู้เลือกไปเรียนในประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสจำนวนมากเหมือนเดิม เพราะเป็นประเทศผู้นำทางเทคโนโลยี
รัฐบาลฝรั่งเศส และประเทศใหญ่ๆ ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสให้ทุนแก่ผู้ที่เรียนภาษาฝรั่งเศสจำนวนมากในแต่ละปีแก่ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ทั้งผู้เรียนทางภาษา และคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นทุนระยะสั้นเพื่อไปเรียนภาษาและทัศนศึกษา ระดับอุดมศึกษาก็ให้ทุนในรูปแบบต่างๆ ด้านกฎหมาย รัฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม การเกษตร การใช้ไอที ฯลฯ
เหตุผลประการสุดท้ายในการเลือกเรียนภาษาฝรั่งเศสก็คือ การเรียนการสอบภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 30 ปี ครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 500 กว่าคน ได้รับทุนไปฝึกอบรมในประเทศฝรั่งเศสทั้งระยะสั้น 1-2 เดือน ระยะยาว 7-9 เดือน ทุนศึกษาปริญญาโท 20 เดือน ครูทุกคนมีความรู้ภาษาฝรั่งเศสระดับปริญญาตรี ประมาณ 20% มีความรู้ปริญญาโท ปริญญาเอก และครู ประมาณ 50%ได้ไปรับการอบรมในประเทศฝรั่งเศสถึง 2 ครั้ง นอกจากนี้ยังได้หมุนเวียนกันเข้ารับการอบรมในประเทศทุกปิดภาคเรียน เช่น หลักสูตรพัฒนาภาษา หลักสูตรพัฒนาเทคนิคการสอน หลักสูตรผู้นำทางวิชาการ หลักสูตรการใช้ไอทีในการสอน เพื่อการอบรมขยายผลต่อในระดับท้องถิ่น ครูภาษาฝรั่งเศสจึงมีความพร้อมด้านคุณวุฒิ การสอนภาษาฝรั่งเศสนี้ได้รับการดูแลอย่างดี จากศึกษานิเทศก์ภาษาฝรั่งเศส สำนักฑูตวัฒนธรรมฝรั่งเศสและสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในแต่ละปีรัฐบาลฝรั่งเศสให้ความสนับสนุนด้านทุน สำหรับครู นักเรียนและผู้บริหารโรงเรียน เพื่อไปฝึกอบรม ทัศนศึกษา และดูงานในประเทศฝรั่งเศส การสอนภาษาฝรั่งเศสมีสื่อการเรียนที่น่าสนใจ สอดคล้องกับหลักสูตรใหม่ กิจกรรมการเรียนการสอนสนุกสนาน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาเดียวที่จัดงานชุมนุมนักเรียนระดับประเทศทุกๆ ปี เพื่อให้นักเรียนได้มาแสดงความสามารถทางภาษาและสนุกสนานร่วมกัน ในงานนี้ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์นายกกิตติมศักดิ์ของสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทยเสด็จเป็นประธาน พระราชทานรางวัลแก่ผู้ชนะการแข่งขัน การเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทยจึงมีคุณภาพสูง และความพร้อมในทุกๆ ด้าน